รูปที่ 3.1 สัญลักษณ์ของกราวน์
รูปที่ 3.2 แรงดันโนด
และ
รูปที่ 3.3 กระแสที่ไหลผ่านตัวต้านทานในทิศทางต่างๆ
ขั้นตอนการวิเคราะห์แบบโนด (Nodal Analysis) |
|
ตัวอย่างการวิเคราะห์แบบโนด
รูปที่ 3.4 ตัวอย่างวงจรที่ใช้การวิเคราะห์แบบโนด
ดังนั้นจะเขียนสมการ KCL ที่โนด
หมายเหตุ กำหนดให้กระแสที่ไหลออกจากโนดมีค่าเป็นบวก ส่วนกระแสที่ไหลเข้าโนดมีค่าเป็นลบ
และสมการ KCL ที่โนด
และเมื่อแก้สมการ KCL ที่โนดทั้งสองก็จะได้คำตอบคือแรงดันที่โนด
รูปที่ 3.5 ตัวอย่างวงจรที่มีแหล่งจ่ายแรงดัน
ในวงจรจะมีแหล่งจ่ายแรงดันสองแหล่งดังนั้นจะได้ความสัมพันธ์ระหว่างแหล่งจ่ายแรงดันและแรงดันโนดเป็น
และ
เขียนสมการ KCL ที่โนด
ส่วนสมการ KCL ที่โนด
รูปที่ 3.6 ส่วนหนึ่งของวงจรรูปที่ 3.5
เขียนสมการที่ซูปเปอร์โนด
ขั้นตอนการวิเคราะห์แบบโนดกรณีมีแหล่งจ่ายแรงดัน |
|
รูปที่ 3.7 ตัวอย่างของวงรอบปิด
รูปที่ 3.8 ตัวอย่างของวงจรที่มีลักษณะเป็นระนาบและไม่เป็นระนาบ
ขั้นตอนการวิเคราะห์แบบเมช (Mesh Analysis) |
|
ตัวอย่างการวิเคราะห์แบบเมช
รูปที่ 3.9 ตัวอย่างการวิเคราะห์แบบเมช
ดังนั้นจะได้สมการ KVL ที่เมช
และสมการ KVL ที่เมช
เมื่อแก้สมการ KVL ที่เมชทั้งสองก็จะได้คำตอบคือกระแสเมช
และ
รูปที่ 3.10 วงจรที่มีแหล่งจ่ายกระแส
รูปที่ 3.11 วงจรรูปที่ 3.10 เมื่อถอดแหล่งจ่ายกระแสออก
เขียนสมการ KVL รอบซูปเปอร์เมชได้
ขั้นตอนการวิเคราะห์แบบเมชกรณีมีแหล่งจ่ายกระแส |
|